คลังความรู้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Department of Thai Traditional and Alternative Medicine
คลังความรู้
เกร็ดความรู้
ถาม-ตอบ ข้อมูลสมุนไพร
เกี่ยวกับเรา
ข่าวสารวิชาการ
หนานเฉาเหว่ย
Size
RadEditor hidden textarea
%3cp style%3d%22text-indent%3a 36pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 115%25%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-indent%3a 0.5in%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3c/span%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cstrong%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3c/p%3e %3c/strong%3e %3cp%3e%3cstrong%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22line-height%3a 16.1px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3cbr /%3e %3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b%22%3eข้อเท็จจริง%3c/span%3e%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cstrong%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-indent%3a 36pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eหนานเฉาเหว่ย %26nbsp%3bเป็นสมุนไพรที่มีรสขมเย็น มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า%26nbsp%3b%3c/span%3e%3cem%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eVernonia amygdalina%26nbsp%3b%3c/span%3e%3c/em%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eDelile วงศ์ Asteraceae พบว่ามีการใช้ในการแพทย์พื้นบ้านทั่วไปทั้งในทวีปแอฟริกา อเมริกา จีน และทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้รักษาโรคได้หลากหลาย การแพทย์พื้นบ้านภาคเหนือ ใช้เข้าตำรับยารักษาโรคเรื้อรัง เช่น โรคขาง โรคสาน %28โรคที่มีก้อนเนื้อผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย%29 และใช้แก้พิษ เชื่อกันว่าเป็นสมุนไพรที่ทำให้คนเสียชีวิตจากโรคเรื้อรังลดลง จนเป็นที่มาของชื่อ %26ldquo%3bป่าช้าเหงา%26rdquo%3b หรือ %26ldquo%3bป่าช้าหมอง%26rdquo%3b หรือภาษาเหนือเรียก %26ldquo%3bป่าเฮ่วหมอง%26rdquo%3b สำหรับการรับประทานป่าช้าหมองที่หมอพื้นบ้านแนะนำเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และในผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงคือ ใบสด %28ขนาดใหญ่%29 ให้รับประทานครั้งละ 1 ใบ รับประทานบ้างหยุดบ้าง เช่น วันเว้นวัน หรือ 2-3 วัน/ครั้ง ติดต่อไม่เกิน 1 เดือน นอกจากนี้ในทางการแพทย์พื้นบ้านของประเทศทางทวีปแอฟริกา ใช้รักษาโรคมาลาเรีย อาการปวดท้อง โรคพยาธิ ต้านชัก สมานแผล คุมกำเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดระดับน้ำตาลในเลือด เป็นต้น %28Ifeoluwa T.Oyeyemi%26nbsp%3b%3cem%3eet.at%2c%3c/em%3e%26nbsp%3b2018%29%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-bottom%3a 6pt%3b text-indent%3a 36pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eในประเทศไทยมีความนิยมกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นหลังจากโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้มีการเผยแพร่ข้อมูลว่าเป็นสมุนไพรอายุวัฒนะ ที่มีฤทธิ์ลดน้ำตาล ความดัน และไขมันในเลือดได้ โดยได้ทำเป็นผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย ซึ่งในต่างประเทศก็พบว่ามีผลิตภัณฑ์จากหนานเฉาเหว่ยจำหน่ายเช่นกัน โดยแนะนำให้รับประทานในขนาด 750 -1%2c200มก./วัน%26nbsp%3b%3cbr /%3e %28%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3ehttps%3a//www.amazon.com/Bitter-Capsule-Vernonia-AMYGDALINA-Capsules/dp/B07DRQG93N%29%3c/span%3e%3cbr /%3e %3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3cbr /%3e ข้อกฎหมาย/หลักวิชาการ%3c/span%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง%3c/span%3e%3c/strong%3e%26nbsp%3b%26nbsp%3b%3cspan style%3d%22white-space%3a pre%3b%22%3e %3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e1. การศึกษาทางพฤกษเคมี%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3bพบว่า ต้นหนานเฉาเหว่ย ประกอบด้วยสารที่เป็น%26nbsp%3b%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3esecondary metabolite หลายชนิด ได้แก่ Sesquiterpene lactones%2c สารกลุ่ม Flavonoids%2c Steroid Glucosides%2c Steroid%2c และ saponins ซึ่งพบฤทธิ์ในระดับหลอดทดลอง ได้แก่ antioxidant%2c anticancer%2c antimicrobial%2c antitumoral%2c antiplasmodial%2c antischistosomal และ anti-inflammatory %28Ifeoluwa T.Oyeyemi%26nbsp%3b%3cem%3eet.al%2c%3c/em%3e%26nbsp%3b2018%29%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e2. การศึกษาทางคลินิกและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cstrong%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp%3e%26nbsp%3b%26nbsp%3b%3cspan style%3d%22white-space%3a pre%3b%22%3e %3c/span%3e%3cspan style%3d%22text-indent%3a 36.55pt%3b white-space%3a pre%3b font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eงานวิจัยของ %3c/span%3e%3cspan style%3d%22text-indent%3a 36.55pt%3b white-space%3a pre%3b font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eYeap%2c S.K. และคณะ ทำการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือดในหนูแรททั้งเพศเมียและเพศผู้จำนวน 56 ตัว ผลการศึกษา พบว่า สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้โดยไม่เกิดภาวะระดับ น้ำตาลในเลือดต่ำ %28Hypoglycemia%29 โดยเชื่อว่ากลไกการลดระดับน้ำตาลในเลือดอาจเกิดจาก สาร secondary metaboliteในกลุ่ม Sesquiterpene lactones ซึ่งมีผลกระตุ้นอินซูลินให้ทำงานดีขึ้น %28insulin sensitization%29 %28Yeap%2c S.K. %3cem%3eet.al%3c/em%3e%2c 2013%29 %3c/span%3e%3cspan style%3d%22white-space%3a pre%3b%22%3e%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e3. การทดสอบความเป็นพิษ%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cstrong%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp%3e%3cspan style%3d%22white-space%3a pre%3b%22%3e %3c/span%3e%3cspan style%3d%22text-indent%3a 49.65pt%3b white-space%3a pre%3b font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eการทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลัน เมื่อให้สารสกัดน้ำจากใบหนานเฉาเว่ยขนาด 5%2c000 มก./กก. เป็นเวลา 14 วัน พบว่าไม่เกิดความเป็นพิษต่อระดับเลือดและเคมีในเลือดและไม่ทำให้เกิดการตายอย่าง เฉียบพลันของหนูทดลอง %28%3c/span%3e%3cspan style%3d%22text-indent%3a 49.65pt%3b white-space%3a pre%3b font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eYeap%2c S.K. %3cem%3eet.al%3c/em%3e%2c 2013%29%3c/span%3e%3cspan style%3d%22white-space%3a pre%3b%22%3e%3cbr /%3e %3c/span%3e%3cstrong style%3d%22text-indent%3a 36pt%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3cbr /%3e ข้อพิจารณา%3c/span%3e%3c/strong%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-indent%3a 36pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b line-height%3a 24.5333px%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eจากหนังสือพิมพ์บ้านเมือง คอลัมน์ฉลามเขียว ที่มีการกล่าวถึงในเรื่องของการรับประทานหนานเฉาเหว่ย%26nbsp%3b%3cbr /%3e โดยรับประทานในรูปแบบเป็นแคปซูล 2-3 วัน/ครั้ง หรือใบสดต้มน้ำ โดยเริ่มรับประทานมาประมาณ 1 เดือน พบว่านอกจากระดับน้ำตาลในเลือดไม่ลดแล้ว ยังทำให้ค่าการทำงานของตับมีค่าเพิ่มขึ้นจากค่าปกติค่อนข้างสูง%26nbsp%3b%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22color%3a red%3b%22%3eเมื่อพิจารณาแล้ว%3c/span%3e%3c/strong%3e%26nbsp%3bเบื้องต้นคาดว่าผู้ป่วยน่าจะมีโรคประจำตัวหลายโรค %28%3c/span%3e%3cspan style%3d%22line-height%3a 24.5333px%3b font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eunderlying disease%29 ซึ่งการบริโภคสมุนไพรในรูปแบบสมุนไพรเสริม ไม่ควรทำโดยพลการ ควรมีการปรึกษาแพทย์ เภสัชกรก่อนรับประทาน เนื่องจากสมุนไพรสามารถทำให้เกิดการแพ้ในผู้ป่วยบางรายที่ที่ไม่เคยใช้สมุนไพรชนิดนั้นมาก่อน หรืออาจทำให้เกิดอันตรกิริยาระหว่างสมุนไพร %28Drug interaction%29 กับแผนปัจจุบัน เช่น อาจไปเสริมฤทธิ์กับยารักษาโรคเบาหวาน จนทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำมากจนเป็นอันตราย หรือเสริมฤทธิ์กับยาอื่นๆ จนมีผลต่อการทำงานของตับและไตได้ และนอกจากนี้ เนื่องจากยังไม่เคยมีการศึกษาเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรชนิดนี้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับและไตบกพร่องมาก่อน ดังนั้น ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะตับ หรือไตทำงานบกพร่อง%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-bottom%3a 6pt%3b text-indent%3a 36pt%3b text-align%3a center%3b%22%3e%3cspan style%3d%22line-height%3a 115%25%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3cbr /%3e %3c/span%3e%3c/p%3e
Preview
RadEditor - please enable JavaScript to use the rich text editor.