คลังความรู้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Department of Thai Traditional and Alternative Medicine
คลังความรู้
เกร็ดความรู้
ถาม-ตอบ ข้อมูลสมุนไพร
เกี่ยวกับเรา
คลังความรู้
ข้อมูลสมุนไพร
ชื่อพืช
ชื่อไทย
ผักเชียงดา
ชื่อสามัญ/อังกฤษ
Gurmar
ชื่อพื้นเมืองในประเทศอาเซียน
ลำดับ
ชื่อประเทศอาเซียน
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์
Gymnema
inodorum
(Lour.) Decne.
ชื่อวงศ์ Family
Asclepiadaceae
ชื่อ Genus
Gymnema
ชื่อ Species
inodorum
ชื่อผู้ค้นพบ
(Lour.) Decne.
ชื่อ Subspecies
ชื่อผู้ค้นพบ
ชื่อ Varieties
ชื่อผู้ค้นพบ
ชื่อ CULTIVAR
ชื่อผู้ค้นพบ
ชื่อพ้องทางวิทยาศาสตร์ (Synonym)
ลำดับ
ชื่อพ้องทางวิทยาศาสตร์
เอกสารอ้างอิง
ลำดับ
ชื่อเอกสารอ้างอิง
1
The Plant List Version 1.1. A genus and species. [Online]. Available from: http://www.theplantlist.org/
2
เต็ม สมิตินันทน์. ชื่อพรรณไม้เมืองไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช; 2557. (828 หน้า)
ชื่อตามตำราการแพทย์แผนไทย
ชื่อท้องถิ่น
ผักเซียงดา ผักจินดา ผักเซ็ง (เหนือ) ผักฮ่อนไก่ (ภูเรือ) เครือจันปา (ภูหลวง) ผักอีฮ่วน (ท่าลี่)
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะวิสัย
ลักษณะสมุนไพร พืช/สัตว์/แร่ธาตุ
ไม้เถาเลื้อยพัน เถายาวได้ถึง 25 ม. ทุกส่วนของลำต้นที่อยู่เหนือดินมีน้ำยางสีขาว ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 2-9 ซม. ยาว 4-14 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกออกเป็นช่อออกตามซอกใบ ขนาดเล็กสีขาวอมเขียว ผลเป็นฝักรูปกระสวยยาว กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 8-16 ซม. ปลายแหลม มักออกเป็นคู่ เมล็ดมีขนาดเล็ก และมีขนสำหรับช่วยกระจายพันธุ์
ถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์
พบขึ้นในป่าดิบแล้ง แสงแดดรำไร ทางภาคเหนือ ต่างประเทศพบแพร่กระจายในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนปาล อินเดียและทางตอนใต้ของจีน
พิกัดทางภูมิศาสตร์
ความสำคัญของสมุนไพร
สรรพคุณตามตำราไทย
ส่วนที่ใช้
สรรพคุณตามตำราไทย
ราก
ใบ รสขมเฝื่อน ใช้เป็นยาเย็น แก้ไข้ นำมาตำให้ละเอียดพอกกระหม่อม แก้หวัดและลดไข้ ช่วยลดน้ำตาลในเลือด ช่วยลดความร้อนในร่างกาย แก้ท้องผูก กินอาหารผิดสำแดง ต้มกินแก้ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อและแก้เบาหวาน
สรรพคุณตามพื้นบ้าน
ส่วนที่ใช้
สรรพคุณตามตำราพื้นบ้าน
สรรพคุณตามตำราแพทย์แผนจีน
ส่วนที่ใช้
สรรพคุณตามตำราแพทย์แผนจีน
รสตัวยาสมุนไพร
ลักษณะเครื่องยา
-
ข้อมูลตัวอย่างเครื่องยา
-
พื้นที่ส่งเสริมการปลูกสมุนไพร
ลำดับ
บริเวณที่ปลูก
จำนวน
กลุ่มผู้ปลูก
จังหวัด
อำเภอ
ตำบล
พื้นที่เหมาะสมในการปลูกในประเทศไทย
การคัดเลือกพันธุ์(พันธุ์ที่นิยมปลูกในประเทศไทย)
การขยายพันธุ์
การปลูก/สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการปลูก
การปฏิบัติดูแลรักษา
การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว
การจำหน่าย
องค์ประกอบทางเคมี
ใบพบ (3?,4?,16?)-16,23,28-trihydroxyolean-12-en-3-yl-?-D-glucopyranosiduroic acid
ภาพประกอบสมุนไพร
ชื่อไฟล์
ประเภทของภาพ
ภาพสมุนไพร
Download
การใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ
-
ข้อมูลอื่น/หมายเหตุ
ยอดอ่อนนำมาแกงใส่ปลาแห้ง หรือแกงแค ผัดน้ำมันหอย หรือลวกกินกับน้ำพริก ผักเชียงดา 100 กรัม มีคุณค่าทางอาหาร คือ ให้พลังงาน 70 kcal ประกอบด้วย โปรตีน 5.4 g ไขมัน 1.5 g คาร์โบไฮเดรต 8.6 g แคลเซียม 78 mg ฟอสฟอรัส 98 mg เหล็ก 2.3 mg น้ำ 82.9 g เบต้าแคโรทีน 5,905 ?g ไทอะซิน 0.12 mg ไนอะซิน 1.0 mg ไรโบฟลาวิน 0.35 mg วิตามินเอรวม 984 ?g และวิตามินซี 153 mg ปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นได้นำเข้าใบและยอดอ่อนของผักเชียงดาจากประเทศไทย นำไปผลิตเป็นชาชงสมุนไพร (Herbal tea) ใช้ชงดื่มเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
เอกสารอ้างอิง
ลำดับ
ชื่อเอกสารอ้างอิง
จำนวนคนเข้าใช้งาน
คน