คลังความรู้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Department of Thai Traditional and Alternative Medicine
คลังความรู้
เกร็ดความรู้
ถาม-ตอบ ข้อมูลสมุนไพร
เกี่ยวกับเรา
ข่าวสารวิชาการ
มะขามป้อม (MAKHAM POM)
Size
RadEditor hidden textarea
%3ch1 style%3d%22margin-top%3a 6pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 26pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eมะขามป้อม %3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 26pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%28MAKHAM POM%29%3c/span%3e%3c/h1%3e %3ch6%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3b%3c/span%3e %3c/h6%3e %3ch6 style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eFructus Phyllanthi Emblicae%3c/span%3e%3c/h6%3e %3ch3 style%3d%22margin-top%3a 0in%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eEmblic Myrobalan%3c/span%3e%3c/h3%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 9pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b มะขามป้อมเป็นผลแก่จัดและแห้งของพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า %3cem%3ePhyllanthus emblica%3c/em%3e L.%26nbsp%3b%26nbsp%3b %26nbsp%3bในวงศ์ Euphorbiaceae%3c/span%3e%3c/strong%3e %3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 9pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eชื่อพ้อง %26nbsp%3b%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cem%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eEmblica officinalis%3c/span%3e%3c/em%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e Gaertn.%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 9pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eชื่ออื่น%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3b กำทวด%2c กันโตด%2c amalaki%2c amritaphala%2c Indian gooseberry%2c malaka%3c/span%3e%3c/p%3e %3ch3 style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eลักษณะพืช %26nbsp%3b%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-weight%3a normal%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eไม้ต้น สูงได้ถึง %3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-weight%3a normal%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e25 เมตร หูใบรูปสามเหลี่ยม มีขนาดเล็กมาก %3cem%3eใบ %3c/em%3eเป็นใบเดี่ยว ออกสลับถี่ในระนาบเดียวกันบนกิ่งสั้นๆ ดูคล้ายเป็นใบประกอบ กิ่งเหล่านี้ยาว 5-25 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนาน กว้าง 1-5.5 มิลลิเมตร ยาว 0.4-2 เซนติเมตร โคนมนและเบี้ยว ปลายแหลมหรือมน มีติ่ง ขอบเรียบ ก้านใบสั้นมาก %3cem%3eดอก%3c/em%3e แยกเพศร่วมต้น ออกตามซอกใบบนกิ่งสั้น สีเขียวอ่อน กลีบรวมมี 6 กลีบ รูปขอบขนาน รูปแถบ หรือรูปไข่กลับ ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 1-4 มิลลิเมตร กลีบรวมยาว 1.5-2.5 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านชูอับเรณูติดกัน แต่อับเรณูแยก ดอกเพศเมียมีก้านดอกสั้นมากหรือไม่มี กลีบรวมยาว 2.5-3 มิลลิเมตร มีจานฐานดอก รังไข่เหนือวงกลีบ มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 3 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น ปลายแยกเป็นแฉกยาว 2 แฉก ปลายแฉกมีหยักตื้น %3cem%3eผล %3c/em%3eแบบผลแห้งแตก ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 %3cspan style%3d%22letter-spacing%3a -0.2pt%3b%22%3eเซนติเมตร ก้านผลสั้น ผลแก่สีเขียวอ่อน แก่จัดสีเขียวอมสีเหลือง สีขาวอมสีเหลือง หรือสีเขียวอมสีน้ำตาล%3c/span%3e %3cem%3eเมล็ด%3c/em%3e แข็ง%3c/span%3e%3c/h3%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 6pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b letter-spacing%3a -0.1pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b letter-spacing%3a -0.1pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e %26nbsp%3bพืชชนิดนี้เป็นพืชเขตร้อนถึงเขตอบอุ่น พบทั้งในแถบเอเชียตะวันออก%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก ตามที่ราบต่ำใกล้ระดับน้ำทะเลถึงที่สูงประมาณ 1%2c800 เมตร%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 6pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cstrong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eลักษณะเครื่องยา%3c/span%3e%3c/strong%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3b มะขามป้อมเป็นผลแห้งรูปเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3-2 เซนติเมตร หรือมักพบส่วนของผลที่แตกเป็นชิ้น ผิวย่น ผนังผลชั้นในแข็ง สีน้ำตาล แต่ละชิ้นปลายแหลม และมักมีรยางค์แข็ง 3-4 เส้น เมล็ดรูปสามเหลี่ยมด้านหลังโค้งและแข็ง %3c/span%3e%3c/p%3e %3ch3 style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22letter-spacing%3a -0.2pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eองค์ประกอบทางเคมี%26nbsp%3b %3c/span%3e%3cspan style%3d%22letter-spacing%3a -0.2pt%3b font-weight%3a normal%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eมะขามป้อมมีกรดแอสคอร์บิก %3c/span%3e%3cspan style%3d%22letter-spacing%3a -0.2pt%3b font-weight%3a normal%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%28ascorbic acid%29 หรือวิตามินซี %28vitamin C%29%2c รูทิน%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-weight%3a normal%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e %28rutin%29%2c กรดมิวซิก %28mucic acid%29%2c กรดแกลลิก %28gallic acid%29%2c กรดฟิลเลมบลิก %28phyllemblic acid%29 สารกลุ่มแทนนิน %28tannins%29 ได้แก่ กรดชีบูลาจิก %28chebulagic acid%29%2c คอริลาจิน %28corilagin%29 และ 1-โอ-%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b%26nbsp%3b แกลลอยล์-บีตา-ดี-กลูโคส %281-%3cem%3eO%3c/em%3e-galloyl-%28-%3cem%3eD%3c/em%3e-glucose%29 เป็นต้น นอกจากนี้พบแอล-มาลิกแอซิด 2-โอ-%26nbsp%3b แกลเลต %28%3cem%3eL%3c/em%3e-malic acid 2-%3cem%3eO%3c/em%3e-gallate%29%2c มิวซิกแอซิด 2-โอ-แกลเลต %28mucic acid 2-%3cem%3eO%3c/em%3e-gallate%29 และโปรตีน%3c/span%3e%3c/h3%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 6pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eข้อบ่งใช้%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%26nbsp%3b %3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22margin-top%3a 6pt%3b text-indent%3a 42.55pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eตำราสรรพคุณยาไทยว่ามะขามป้อมมีรสเปรี้ยวฝาดขม แก้ไข้เจือลม แก้ไอ แก้เสมหะ แก้บิด%26nbsp%3b%26nbsp%3b %26nbsp%3bแก้ท้องเสีย ช่วยย่อยอาหาร%3csup%3e %3c/sup%3eจัดเป็นเครื่องยาสมุนไพรชนิดหนึ่งในพิกัดตรีผลา%3c/span%3e%3c/p%3e %3cp style%3d%22text-indent%3a 42.55pt%3b text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eข้อมูลจากการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่ามะขามป้อมมีฤทธิ์แก้ไอ%3csup%3e %3c/sup%3eต้านออกซิเดชัน%3csup%3e %3c/sup%3eลดไขมันและคอเลสเตอรอล%3csup%3e %3c/sup%3eต้านเชื้อแบคทีเรีย%3csup%3e %3c/sup%3eรักษาแผลเปื่อยกระเพาะ%3csup%3e %3c/sup%3e%3cspan style%3d%22letter-spacing%3a -0.1pt%3b%22%3eต้านมะเร็ง ป้องกันตับจากสารพิษ%3c/span%3e ป้องกันพิษจากการฉายรังสี %3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%28radioprotection%29%3c/span%3e%3c/p%3e %3ch3 style%3d%22text-align%3a justify%3b%22%3e%3cspan style%3d%22font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eเอกสารอ้างอิง%3c/span%3e%3c/h3%3e %3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3eคณะอนุกรรมการจัดทำตำราอ้างอิงยาสมุนไพรไทยในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย. ตำราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ%3c/span%3e%3cspan style%3d%22font-size%3a 16pt%3b font-family%3a %26quot%3bth sarabunpsk%26quot%3b%2c sans-serif%3b%22%3e%3a อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด%3b 2548%3c/span%3e
Preview
RadEditor - please enable JavaScript to use the rich text editor.